บทที่ 1 บททั่วไป
1.1 นิยามศัพท์ (มาตรา 2)
1.2 ผู้เสียหารในกฎหมายอาญาและผู้มีอำนาจจัดการแทน
1.2.1 ผู้เสียหายที่แท้จริง (มาตรา 2(4))
1.2.2 ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียชีวิต (มาตรา 3)
1.2.2.1 สามีมีอำนาจจัดการแทนภริยยา (มาตรา 3)
1.2.2.2 ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียชีวิตที่เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล (มาตรา 5)
1.2.2.3 ผู้แทนเฉพาะคดี
1.2.3 ผลของการร้องทุกข์โดยผู้เสียหายและผู้มีอำนาจการจักการแทนผู้เสียหารตามกฏหมาย (มาตรา 120,121,122(2))
บทที่ 2 การสืบสวนและการสอบสวนการกระทำผิดอาญา
2.1 การสืบสวน (มาตรา 17)
2.2 การสอบสวนคดีสามัญ
2.2.1 พนักงานสอบสวนและพนักวานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
2.2.1.1 พนักงานสอบสวนผู้มีอำนาจสอบสวนคดีอาญา (มาตรา 18 วรรคหนึ่งและวรรคสอง)
2.2.1.2พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคดีอาญา (มาตรา 18 วรรคสาม)
2.2.1.3 พนักงานสอบสวนและพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคดีอาญากรณีควมผิดเกิดขึ้นหลายท้องที่ (มาตร 19)
2.2.1.4 พนักงานสอบสวนคดีอาญาเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร (มาตรา 20)
2.2.1.5 กรณีไม่แน่ว่าพนักงานสอบสวนคนใดควรเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคดี (มาตรา 21 ,21/1)
2.2.2 หลักทั่วไปและกระบวนการสอบสวนคดีอาญาทั่วไป
2.2.2.1 การสอบสวนกับอำนาจคดีอาญาของพนักงานอัยการ (มาตรา 120)
2.2.2.2 อำนาจทั่วไปของพนักงานสอบสวน (มาตรา 2(7) ,112)
2.2.2.3 อำนาจของพนักงานสอบสวนในการไม่ทำการสอบสวน (มาตรา 2(7),2(8),122,127)
2.2.2.4 รูปแบบของคำร้องทุกข์ (มาตรา 123)
2.2.2.5 การแก้ไขหรือการถอนคำร้องทุกข์ (มาตรา 126)
2.2.2.6 กรณีที่พนักงานสอบสวนมีอำนาจให้พนักงานอื่นทำการสอบสวนแทนได้ (มาตรา 128)
2.2.2.7 ระยะเวลาและสถานที่ในการสอบสวนและการสอบสวนไม่ต้องกระทำต่อหน้าผู้ต้องหา (มาตรา 130)
2.2.2.8 การรวบรวมพยานหลักฐาน (มาตรา 131, 131/1,32,133)
2.2.2.9 การสอบสวนผู้ต้องหา (มาตรา 134)
2.2.2.10 การสอบถามและการจัดหาทนายความให้ผู้ต้องหา (มาตรา 134/1,134/4 วรรคท้าย)
2.2.2.11 สิทธิของผู้ต้องหาในการให้ทนายความหรือผู้ซึ่งตนไว้ใจวางใจเข้าฟังการสอบปากคำของตน (มาตรา 134/3,134/4 วรรคท้าย)
2.2.2.12 การแจ้งสิทธิในชั้นสอบสวนให้ผุ้ต้องหารทราบ (มาตรา 134/4)
2.2.2.13 พนักงานสอบสวนต้องไม่จูงใจให้ผู้ต้องหาให้การ (มาตรา 135)
2.2.2.14 ขั้นตอนการดำเนินคดีเมื่อการสอบสวนเศร็ขสิ้นลง : พนักงานสอบสวนส่งมอบสำนวนกรสอบสวนให้พนักงานอัยการ (มาตรา 140-147)
2.2.3 กระบวนการสอบสวนเด็กในคดีอาญา
2.2.3.1 การร้องทุกข์โดยผู้เสียหายที่เป็นเด็ก
2.2.3.2 การสอบปากคำผู้เสียหายหรือพยานที่เป็นเด็ก
2.2.3.3 การจัดให้ผู้เสียหายหรือพยานที่เป็นเด็กชี้ตัวบุคคล
2.2.3.4 การสอบปากคำเด็กในฐานะผู้ต้องหา
2.3 การสอบสวนคดีชันสูตรพริกศพ (มาตรา 129,148-156)
2.3.1 การตายโดยผิดธรรมชาติ (มาตรา 148,150 วรรคหนึ่ง)
2.3.2 ความตานเกิดจากการกระทำของเจ้าพนักงานหรือขณะอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน (มาตรา 150 วรรคสาม ถึงวรรคหก)
2.3.3 หน้าที่ในการแจ้งแก่ผู้มีหน้าที่ไปทำการชันสูตรพริกศพและญาติขิงผู้ตายทราบ (มาตรา 150 วรรคสอง)
2.3.4 ความเห็นในการชันสูตรพริกศพ (มาตรา 154)
บทที่ 3 หมายเรียก หมายอาญา และการจับ ขัง จำคุก ค้น ปล่อยชั่วคราว
3.1 หมายเรียกattorney285.co.th
3.1.1 เหตุออกหมายเรียน (มาตรา 52)
3.1.2 วิธีการส่งหมายเรียก (มาตา 55,55/1)
3.2 หมายอาญา และการจับ ขัง จำคุก ค้น ปล่อยชั่วคราว
3.2.1 จับ
3.2.1.1 การจับโดยมีหมาย (มาตรา 66)
3.2.1.2 การจับโดยไม่มีหมาย (มาตรา 66,78,80)
3.2.1.3 การจับโดยราษฎรเป็นผู้จับ (มาตรา 79)
3.2.1.4 การจับในรโหฐาน (มาตรา 81)
3.2.1.5 วิธีการจับและกระบวนการที่ต้องปฎิบัติเมื่อจับได้แล้ว (มาตรา 83,84)
3.2.2 ขัง
3.2.2.1 การขังในระหว่างสอบสวน (มาตรา 87,97 วรรคแปด)
3.2.2.2 การขังผู้ต้องหารที่ไม้ได้ถูกจับ (มาตรา 71/134)
3.2.2.3 การขังในระหว่างพิจารณา (มาตรา 88)
3.2.2.4สถานที่ขังผู้ต้องหาารหรือจำเลย (มาตรา 89,89/1)
3.2.2.5 การปล่อยตัวผู้ถถูกคุมขังโดยมิชอบด้ยวกฎหมาย (มาตรา 90)
3.2.3 จำคุก (มาตรา 89,89/2)
3.2.4 ค้น (มาตรา 2(11))
3.2.4.1 การค้นในฐานรโหฐาน (มาตรา 92,94,96,97-99,101,102)
3.2.4.2 การค้นตัวบุคคล (มาตรา 85,93,100)
3.2.5 ปล่อยชั่งคราว
3.2.5.1 วิธีการของปล่อยชั่วคราว (มาตรา 106)
3.2.5.2 หลักการพิจารณาคำร้องขอปล่อยชั่วคราว (มาตรา 107)
3.2.5.3 ข้อพิจารณาขอให้ปล่อยชั่วคราว (มาตรา 108/108/1)
3.2.5.4 หลักเกณฑืการปล่อยตัวชั่วคราวอื่นๆ (มาตรา 109-119)
บรรณานุกรรม
ภาคผนวก